วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 4

การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

กลุ่ม 101 เวลา 12.20 - 15.00 น.

วันอังคารที่ 9 กันยายน พ.ศ.2557


ความรู้ที่ได้รับ
  • วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษานำเสนองานที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่ม ดังต่อไปนี้
  1. เด็กซี.พี. (CP : 

    Cerebral Palsy)

     : 
    คลิก Link





    2.  เด็กแอลดี (LD : Learning Disability) คลิก Link






     3.  เด็กดาวน์ซินโดรม (Down's syndrome) : คลิก Link
  • VDO เพิ่มเติม จาก Youtube






  4.  เด็กสมาธิสั้น : คลิก Link




  • VDO เพิ่มเติม จาก Youtube






  •    5.  เด็ก IQ สูง : คลิก Link
    • VDO เพิ่มเติม จาก Youtube


       6.  เด็กออทิสติก : คลิก Link


    • VDO เพิ่มเติม จาก Youtube





    •   5. เด็กอารมณ์รุนแรง : คลิก Link


      การนำไปประยุกต์ใช้
      1. ส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่มีความต้องการพิเศษในแต่ล่ะประเภทได้
      2. เข้าใจความเป็นธรรมชาติของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
      3. การดูแลเอาใจใส่เด็กที่มีความต้องการพิเศษ
      การประเมิน


      • ตนเอง : 95% ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอหน้าชั้นเรียน แต่ละกลุ่มก็มีเทคนิคในการนำเสนอผลงานของแต่ละกลุ่มแตกต่างกันออกไป
      • เพื่อน : 95% มีความร่วมมือในการตอบคำถาม ไม่ส่งเสียงดังรบกวนเพื่อนที่ออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
      • อาจารย์ : 98% ให้ข้อคิด คำแนะนำของแต่ล่ะกลุ่ม


      ครั้งที่ 3

      การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

      กลุ่ม 101 เวลา 12.20 - 15.00 น.

      วันอังคารที่ 2 กันยายน พ.ศ.2557


      ได้มาร่วมงานนิทรรศการ "Thinking Faculty"

      ความรู้ที่ได้รับ
      • ได้รับประโยชน์ในการเข้าร่วมกิจกรรมตามสาขา แต่ละสาขาก็จะแตกต่างกันออกไป มีทั้งเกมไปจ่ายตลาดเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ในการใช้จ่ายโดยมี ธนบัตรคนละ 200 บาท ว่าเรานั้นคำนึงถึงอะไรในการใช้จ่าย สิ่งแรกเลยคือ ราคา คุณภาพสินค้า ซึ่งเป็นกิจกรรมของสาขาการศึกปฐมวัย
      การประเมิน
      • ตนเอง : 100% ได้มาเข้าร่วมกิจกรรมและเล่นกิจกรรมทุกสาขาซึ่งสนุกมาก

      ครั้งที่ 2

      การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

      กลุ่ม 101 เวลา 12.20 - 15.00 น.

      วันอังคารที่ 26 สิงหาคม พ.ศ.2557

      ความรู้ที่ได้รับ
      เด็กที่มีความต้องพิเศษ (Chidren with special needs)
      เด็กปฐมวัยที่ความต้องการพิเศษ (Early childhood with special needs)
      1. ทางการแพทย์   มักจะเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า เด็กพิการ หมายถึง เด็กที่มีความผิดปกติ มีความบกพร่อง สูญเสียสมรรถภาพ อาจเป็นความผิดปกติความบกพร่องทางร่างกาย การสูญเสียสรรถภาพทางสติปัญญา ด้านจิตใจ
      2. ทางการศึกษา   เด็กที่มีความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเองซึ่งจำเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต้องไปจากเด็กปกติทางด้านเนื้อหา หลักสูตร กระบวนการที่ใช้ประโยชน์และประเมินผล (เด็กพิเศษแตกต่างกันออกไปเขียนแผน 1ชิ้น / 1คน)
      สรุป
      1. เด็กที่ไม่อาจพัฒนาความสามารถได้เท่าที่ควรจากการให้การช่วยเหลือและการสอนตามปกติ
      2. มีสามเหตุจากสภาพความบกพร่องทางร่างกายสติปัญญาและอารมณ์
      3. จำเป็นต้องได้รับการกระตุ้น ช่วยเหลือบำบัดและฟื้นฟู
      4. จัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับลักษณะและความต้องการของเด็กแต่ละบุคคล
      (All Childreh can learn ) เด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ไม่ว่าเด็กคนนั้นจะเป็นยังไงก็ตาม

      • พฤติกรรมและพัฒนาการของเด็กที่มี่ความต้องการพิเศษ
      1. การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆ
      2. ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

      • เด็กที่มีความบกพร่องทางการพัฒนาการ

      1. มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
      2. พัฒนาการล่าช้าอาจเพียงด้านใดด้านหนึ่งหลายด้านหรือทุกด้าน (ถ้าเด็กบกพร่องด้านหนึ่งที่กระทบทุกด้าน)
      3. มีพัฒนาการล่าช้าในด้านหนึ่งอาจส่งผลให้พัฒนาการในด้านอันล่าช้าด้วย
      • ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาเด็ก
      1. ปัจจัยด้านชีวภาพ
      2. ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
      3.ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด
      4.ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด

      สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางการพัฒนา

      1. พันธุกรรม เด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาตั้งแต่เกิดหรือสังเกตได้ว่าระยะไม่นานหลังเกิดมักมีลักษณะผิดปกติแต่กำเนิดร่วมด้วย(แฝง)Aldinism โรคคนเผือก ไม่มีเม็ดสีมิลูนิค





      Neurofibro mitosis โรคเท้าแสนปม ออกตุ่มตามร่างกาย
      1. ปานสีกาแฟใส่นมอย่างน้อย 6ตำแหน่ง
      2. พบก้อนเนื้องอกตามผิวหนัง 2 ตุ่มขึ้นไป
      3. พบกระที่บริเวณรักแร้ หรือขาหนีบ
      4. พบเนื่องอกของเส้นประสาท
      5. พบเนื้องอกของม่านตา 2 แห่งขึ้นไป
      6. พบความผิดปกติของกระดูก
      7. มีประวัติคนในครอบครัวเช่นโรคนี้ Cleft Lip / Cleft Palate บกพร่อง/เพดานโหว่ง รีบรักษา รีบศัลยกรรม เกิดจากพันธุกรรม แต่สาเหตุหลักยังไม่มีใครทราบเกิดจากอะไร
      • แหล่งไม่สมบรูณ์
      • แหล่งสมบรูณ์
      • แหล่งไม่สมบรูณ์ ซ้าย/ขวา

      ธาลัสซีเมีย

      1. ซีด
      2. หน้าผากกว้าง
      3. โหนกแก้มสูง
      4. ตาเหลือง
      5. ผิวคล้า
      6. จมูกแฟบ
      7. ตัวเล็กผิดปกติ
      8. ตับม้ามโต
      9. อาจไม่มีความเจริญทางเพศ
      10. เม็ดเลือดจะไม่แข็งแรง เม็ดเลือดจะผิดรูป

      2. โรคของระบบประสาท  มีความบกพร่องพัฒนาการส่วนใหญ่มักมีอาการหรือแสดงทางระบบประสาทร่วมด้วย



      3. การติดเชื้อ
      • ติดเชื้ออยู่ในครรภ์ น้ำหนักต่างแรกเกิดน้อย ศีรษะเล็กกว่าปกติอาจมีม้ามโต การได้ยินบกพร่องต้อกระจก
      • ติดเชื้อรุนแรงภายหลังเกิด เช่นสมองอักเสบ เยื้อหุ้มสมองอักเสบถ้าเป็นอาจบกพร่องทางสติปัญญา

          


           4. ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม 
      • โรคที่ยังเป็นปัญหาสาธารณะสุขไทย คือ ไทรอยด์ ฮอร์โมนในเลือดต่ำถ้าปล่อยจะบกพร่องทางสติปัญญา

            5. ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด

      • การเกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวน้อยแรกเกิด และภาวะขาดออกซิเจน **เด็กอาจพิการทางสมอง**

            6. สารเคมี
      • ตะกั่วเป็นสารที่มีผลกระทบต้องดักและมี่การศึกษามากที่สุด
      • มีอากาศซึมเศร้า เคลื่อนไหวช้า ผิวดำหมองคล้ำเป็นจุดๆ
      • ภาวะตับเป็นพิษ
      • ภาวะสิติปัญญาตับ

      แอลกอฮอล์
      • น้ำหนักแรกเกิดน้อย                      
      • สติปัญญาบกพร่อง
      • บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์      
      • น้ำหนักหลังเกิดน้อยศีรษะ
            

      Fetal alcohol Syndrome ,FAS
      • ช่องตาสั้น   
      • ริมฝีปากบนเรียบ
      • ริมฝีปากบนยาวและบาง   
      • จมูกแบน
      • ปลายจมูกเชิดรั้น
          
      นิโคติน
      • ลูกมีโอกาสตายตั้งแต่อยู่ในท้อง                 
      • น้ำหนักน้อยสารอาหาร
      • เพิ่มอัตราการตายในวัยทารก           
      • สติปัญญาบกพร่อง
      • สมาธิสั้นพฤติกรรมถ้าจะสร้างมีปัญหาด้านการเข้าหาสังคม

            7.การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร
            8.สาเหตุอื่นๆ

      • อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับเด็ก
      อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ

      • พัฒนาการล่าช้าซึ่งอาจจะพบมากกว่าๆด้าน
      • ปฏิกิริยาสะท้อน (Primitive Reflex) ไม่หายไปแม้จะถึงช่วงอายุที่ครวจะหายไป (จะเกิดกับเด็กทุกคน)

      แนวทางการวินิจฉัยเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
      1. การซักประวัติ

      • โรคประจำตัว,พันธุกรรม         
      • การเจ็บป่วยในครอบครัว
      • ประวัติฝากครรภ์          
      • ประวัติเกี่ยวกับการคลอด
      • พัฒนาการที่ผ่านมา               
      • การเล่นตามวัย การช่วยเหลือตนเอง
      • ปัญหาพฤติกรรม
      เมื่อซักประวัติแล้วจะสามารถบอกได้ว่า
      • พัฒนาการล่าช้าเป็นแบบคงที่ หรือถดถอย
      • มีระดับพัฒนาการช่วยหรือไม่อย่างไร อยู่ไหนระดับไหน
      • มีข้อบกพร่องว่ามีสาเหตุจากโรคทางพันธุกรรมหรือไม่
      • ได้รับการช่วยเหลือและฟื้นฟู

           2.  การตรวจร่างกาย
      • ตรวจร่างกายที่ใช้การเจริญเติบโต              
      • ภาวะตับม้ามโต
      • ระบบประสาทและวัดรอบศีรษะด้วยเสมอ     
      • ผิวหนัง
      • ดูลักษณะของเด็กที่ทารุณกรรม

           3.  การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
           4.  การประเมินพัฒนาการ
      • การประเมินแบบไม่เป็นทางการ คือ การสังเกต
      • การประเมินที่ใช้ในเวชปฏิบัติ
      • แบบทดสอบ Denver LL
      • Gesell Drawing Test
      • แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็ก แรกเกิด-5ปีสถาบันราชานุกูล
      สรุปความรู้ที่ได้รับ
      1. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับลักษณะความบกพร่องของเด็กให้มากที่สุด ทั้งอีกทั้งยังทำให้พ่อแม่มีหลักในการรับมือกับอนาคตของเด็กอีกด้วย
      2. สร้างกิจวัตรที่เหมาะสมสำหรับครอบครัวที่เอื้อต่อลูกที่มีความต้องการพิเศษ
      3. เข้าใจธรรมชาติของเด็กแต่ละคน

      การประเมิน
      • ตนเอง : 92 % เข้าเรียนตรงเวลา เข้าใจเนื้อหาที่อาจารย์ได้สอน อาจมีคุยบ้างระหว่างเรียน
      • เพื่อน : 95 % เพื่อนตั้งใจฟัง ให้ความร่วมมือในการตอบคำถาม
      • อาจารย์ : 98 % มาสอนตรงต่อเวลา มีเคล็ดลับ ข้อคิดเห็น แนะนำนักศึกษาตลอด เป็นเกร็ดความรู้
























      วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2557

      ครั้งที่ 1

      การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

      กลุ่ม 101 เวลา 12.20 - 15.00 น.

      วันอังคารที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2557



      กิจกรรมในวันนี้
                อาจารย์ได้อธิบายเกี่ยวกับ (Course Syllabus) ของวิชานี้และได้ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มล่ะ 7 - 8 คน โดยให้นักศึกษามาจับฉลาก โดยแบ่งตามหัวข้อเรื่องดังนี้
      1. ซี.พี
      2. ดาวน์ซินโดรม
      3. ออทิสติก
      4. สมาธิสั้น
      5. แอลดี
      6. ปัญญาเลิศ
      7. เด็กอารมณ์รุนแรง (กลุ่มดิฉัน)
      พร้อมกับมานำเสนอ วันอังคารที่ 9 กันยายน 2557
      • อาจารย์ได้ให้นักศึกษาทำ Mild Map เกี่ยวกับ เด็กพิเศษเป็นกลุ่ม 7 คน
      ความรู้ที่ได้รับ
      1. ส่งเสริมให้เด็กรู้จักช่วยเหลือตนเองในด้านต่างๆได้
      2. นำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการฝึกสอนได้
      3. ส่งเสริมให้เด็กมีสัมพันธภาพทางสังคมระหว่างกัน ระหว่างเด็กปกติและเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
      การประเมิน
      • ตนเอง : 85% แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาเรียนตรงเวลา ไม่เข้าใจในเนื้อหาตอนแรก แต่เมื่อได้ลงมือปฏิบัติทำ Mild Map ก็เริ่มเข้าใจได้ง่ายขึ้น
      • เพื่อน : 90 % มีส่งเสียงคุยเสียงดังบ้าง เพราะเป็นสัปดาห์แรกที่ได้เรียน แต่เพื่อนก็ให้ความสนใจในการทำงานเป็นอย่างดี
      • อาจารย์ : 95% อาจารย์ไม่สบายเลยไม่ค่อยมีเสียงในการสอน มาสอนตรงเวลา